GETTING MY จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม TO WORK

Getting My จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม To Work

Getting My จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม To Work

Blog Article

"ยกหมฺรับ-ชิงเปรต" ประเพณีสารทเดือนสิบงานบุญใหญ่ชาวใต้

ร.บ. ฉบับนี้ทำให้คู่รักเพศเดียวกันกลายเป็นพลเมืองชั้นสอง อีกทั้งสิทธิที่ได้รับจากร่าง พ.ร.บ.ก็น้อยมากเมื่อเทียบกับกฎหมายสมรสแบบชาย-หญิง ตัวอย่างเช่น 

ทั้งนี้ ขงจื๊อเป็นแนวทางการปกครองและจัดระเบียบทางสังคมที่กำหนดบทบาทผู้ชายและผู้หญิงไว้อย่างชัดเจน โดยให้ความสำคัญกับแนวคิดชายเป็นใหญ่หรือปิตาธิปไตยอย่างมาก ซึ่งนำมาสู่การแบ่งแยกทางเพศในเวลาต่อมา โดยผู้ชายยังถูกคาดหวังจากครอบครัวด้วยว่า จะต้องแต่งงานกับผู้หญิง เพื่อมีทายาทสืบสกุลต่อไป ดังนั้นการรักเพศเดียวกันจึงไม่ตอบโจทย์ค่านิยมดังกล่าวของขงจื๊อ

นฤพนธ์ กล่าว “ลัทธิอาณานิคมทำให้วิธีคิดเกี่ยวกับเพศมีเพียงชายกับหญิงเท่านั้น ทำให้ธรรมเนียมเก่าที่เขาเคยเปิดรับ [ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ] กลายเป็นเรื่องที่ผิดกฎหมายไป”

ส่องอิทธิพล "ชุดผ้าไทย" ผ่านพระราชกรณียกิจต่างแดนของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงจากยุคสยามสู่ปัจจุบัน

แต่กระนั้น การมีอยู่ของปู๊เมียที่เป็นร่างทรงเช่นนี้ ก็เป็นการเปิดพื้นที่ทางเพศสภาพให้กับผู้มีความหลากหลายทางเพศผ่านวิถีความเชื่อโบราณได้อย่างแนบเนียน และไม่สร้างความตะขิดตะขวงใจให้กับผู้นับถือผีเจ้านาย

ชวินโรจน์ กล่าวต่อไปว่า ด้วยความกังวลนี้ ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมของภาคประชาชน จึงมีมาตราที่เป็นเหมือนบทเฉพาะกาลว่า ให้บรรดากฎหมายต่าง ๆ ทั้งหมดในราชอาณาจักรที่มีคำว่า สามีภรรยา หรือบิดามารดา หรือคำอื่นในลักษณะนี้ ให้หมายความถึง คู่สมรส ตามร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม โดยทันที

This cookie identifies the supply of visitors to the internet site - so Google Analytics can tell web site proprietors wherever readers arrived from when arriving on the location. The cookie provides a lifetime span of six months and is particularly current anytime details is sent to Google Analytics.

-ไม่ได้รับสิทธิ์การจัดการแทนคู่รัก อาทิ การรักษาพยาบาล การจัดการทรัพย์สินของคู่รักได้เหมือนกับคู่สมรส

ดร.นฤพนธ์ ยังอธิบายเพิ่มเติมด้วยว่า การแต่งงานของคนในสมัยก่อน ลูกสาวคนโตคือผู้ได้รับมรดกจากพ่อแม่ ต้องครองเรือนอยู่ในครอบครัวพร้อมกับสร้างทายาท ขณะที่ลูกชายจะต้องออกไปอยู่บ้านผู้หญิง เพื่อไปเป็นลูกเขย และเป็นแรงงานให้กับบ้านพ่อตาแม่ยาย

ในบทความดังกล่าวระบุว่า สาเหตุที่ผีเจ้านายเลือกปู๊แม่เป็นร่างทรง มาจากความเชื่อว่าคนเหล่านี้ไม่มีปัญหาเรื่องประจำเดือน สามารถดูแลเครื่องแต่งกาย หอผี ให้สวยงามสะอาดได้เหมือนผู้หญิง แต่ม้าขี่จำนวนหนึ่งก็รู้สึกว่าผู้คนเคารพผีเจ้านายที่เข้าทรงพวกเขา จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม หาใช่เคารพปู๊แม่ในฐานะบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

เหตุใดประเทศไทยจึงเป็นมิตรกับผู้มีความหลากหลายทางเพศ มากกว่าชาติอื่นในเอเชีย ?

ส.ส. ข้ามเพศคนแรกของรัฐสภาไทย กับการแต่งกายตามเพศสภาพ และก้าวแรกของความเป็นมนุษย์เท่ากัน

เมื่อ ‘สมรสเท่าเทียม’ กำลังจะมา ประเทศไทยพร้อมหรือไม่ ที่จะ ‘เข้าใจ’ และ ‘เปลี่ยนแปลง’?

Report this page